วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555

ของไหล

ของไหล


--> ความดันของของไหล คือ อัตราส่วนของแรงที่กระทำต่อวัตถุต่อหน่วยพื้นที่ที่สัมผัสกับของไหล
สูตรความสัมพันธ์
เมื่อ P คือ ความดัน มีหน่วยเป็น หรือพาสคัล (pascal:Pa)
F
คือ แรงที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุ (นิวตัน)
A คือ พื้นที่(ตารางเมตร) และเป็นพื้นที่ราบ (Flat area)

--> ความดันในของเหลวจะแปรผันตรงกับความลึกและความหนาแน่นของของเหลว

หากพิจารณาของเหลวที่มีความหนาแน่นโรห์อยู่นิ่งในภาชนะเปิดสู่บรรยากาศ

W เป็นน้ำหนักของของเหลวบนพื้นที่ A (หน้าตัดของทรงกระบอก) ดังนั้น

ให้ความดันบรรยากาศ คือ เนื่องจากของเหลวอยู่ในสมดุล หรือ

ดังนั้นที่ก้นแก้ว

จะได้
สูตรความดันสัมบูรณ์
คือ ผลรวมของความดันบรรยากาศกับความดันเกจ เรียกว่า ความดันสัมบูรณ์ (Absolute pressure)
คือ ความดันที่ผิวของเหลวเท่ากับความดันบรรยากาศ
เป็นความดันเนื่องจากน้ำหนักของของเหลวที่ระดับความลึก h เรียกว่า ความดันเกจ

จากสูตร สรุปได้ว่า ความดันในของเหลวชนิดเดียวกันที่ระดับความลึกเดียวกันมีค่าเท่ากัน โดยรูปทรงของภาชนะไม่มีผลต่อความดัน

--> แรงดันน้ำเหนือเขื่อน

จากรูป แรงดันของน้ำเหนือเขื่อน คำนวณได้จาก

F คือ แรงดันเฉลี่ยของน้ำที่กระทำกับเขื่อน
โรห์คือ ความหนาแน่นของน้ำ
l คือ ความยาวของตัวเขื่อน
h คือ ความสูงของระดับน้ำ

-->หลอดแก้วรูปตัวยู
ของเหลวสองชนิดมีความหนาแน่น และ ไม่ผสมกันและไม่ทำปฏิกิริยากัน ใส่เข้าไปในหลอดแก้วรูปตัวยู ดังรูป

ขาทั้งสองข้างจะเท่ากันหรือไม่ก็ตาม แต่ปลายทั้งสองต้องเปิดสู่อากาศเดียวกัน จะได้

--> เครื่องมือวัดความดันของของไหล

  • แมนอมิเตอร์
แมนอมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดความดันของของไหลที่มีลักษณะดังรูป ส่วนสำคัญคือ หลอดรูปตัวยูมีของเหลวซึ่งมีความหนาแน่น โรห์ บรรจุอยู่ คำนวณความดันได้จาก

P คือ ความดันแก๊สในถัง
คือ ความดันบรรยากาศ
คือ ความดันเกจของของเหลวสูง d

  • บารอมิเตอร์
บารอมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดความดันประเภทหนึ่งที่ใช้หลอดยาวปลายข้างหนึ่งปิด และปลายข้างที่เปิดคว่ำลงในอ่างปรอท
ความดัน 1 บรรยากาศ เป็นความดันเนื่องจากน้ำหนักของลำปรอทที่สูง 760 มิลลิเมตร

คำนวณความดันบรรยากาศได้จาก





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น